Keiji Maeda

Keiji Maeda

มาเอดะ เคย์จิ ไม่ทราบปีเกิด - 1605 หรือ 1612


    นักรบเจ้าสำราญหรือคาบุกิโมโนที่มีชีวิตอยู่ในช่วงเซนโกขุ เขาเกิดมาในตระกูลทาคิกาวะแห่งโอวาริ เป็นลูกแท้ๆของทาคิกาวะ คาซึมาสึ ตอนหลังกลายมาเป็นลูกบุญธรรมของ มาเอดะ โทชิฮิสะ เมื่อบ้านตระกูลมาเอดะตกเป็นของลุงของเขา มาเอดะ โทชิอิเอะ ซึ่งไม่ถูกกันกับเขาเท่าไหร่ จึงทำให้เขายอมออกจากตระกูลแล้วไปใช้ชิวิตอย่างคนพเนจร        เขาได้หยุดดูสงครามคิวชูของโทโยโทมิ ในระหว่างการเดินทางของเขา เมื่อเขาไปยังเกียวโต เคย์จิ ก็ได้พบกับ นาโอเอะ คาเนซึกุ ที่ปรึกษาคนสำคัญของอุเอซึกิ คาเงคัทซึ ทำ ให้เขาตัดสินใจที่จะร่วมกันกับคาเงคัทซึทำสงครามที่จังหวัดไอซึ เมื่อถึงคราวถอนทัพเมื่อแพ้การรบ เคย์จิถูกมอบหมายให้เป็นแม่ทัพคุมท้ายทัพ ซึ่งเขาได้ใช้ม้ายักษ์ มัทซึคาเซะและกวัดแกว่งหอกสองง่ามอย่างแข็งแกร่งจนขึ้นชื่อในเรื่องพละกำลัง ด้วยทักษะความชำนาญของเคย์จิ ทัพของอุเอซึกิจึงปลอดภัย



        จากนั้นเขาก็กลับไปเมืองหลวง และอุทิศตนให้กับศิลปะและบทประพันธ์ เมื่อเกิดเซคิงาฮาระขึ้น เขาจึงเข้าร่วมกับทัพตะวันตกซึ่งคาเนซึกุสังกัดอยู่ ในสงครามกับทัพโมงามิ เขาเจาะเข้าไปยังทัพใหญ่พร้อมๆกับทหารม้าแค่ 8 คน แต่สามารถจัดการทัพใหญ่ได้

Maeda Toshimasu, better known as Maeda Keiji or Keijirō, was a Japanese samurai of the Sengoku Period through early Edo Period. Toshimasu was born in the village of Arako, Toshimasu was born to the Takigawa Clan, originally the son of Takigawa Kazumasu. He was adopted by Maeda Toshihisa, the older brother of Maeda Toshiie. Toshimasu served under Oda Nobunaga along with his uncle. Toshimasu was originally intended to inherit Maeda family headship; however, after Oda Nobunaga replaced Toshihisa with Toshiie as Maeda family head, he lost this position. Perhaps because of this loss of inheritance, Toshimasu is well known for not getting along with his uncle.

While in Kyoto, Toshimasu met and befriended Naoe Kanetsugu, Uesugi Kagekatsu's karō. The two became close friends. Consequently, Toshimasu agreed to join Kanetsugu in the Uesugi clan's invasion of Aizu. During the retreat from the failed invasion, Keiji was given the task of leading the rear guard. Riding his horse Matsukaze into battle and brandishing a two-pronged spear, he made a splendid show of force. Due in part to Toshimasu's actions, the Uesugi forces were able to retreat largely intact.

After this, Toshimasu returned to the capital and devoted himself to arts and literature. Keiji was barred from Toyotomi’s Kyushu campaign for his wild way. When the Tokugawa challenged the Uesugi in 1600, he once again fought with Uesugi’s army. In the battle against the Mogami, he broke through the enemy lines with only eight riders, and shattered their formation.[citation needed] After the Uesugi clan's move to the Yonezawa Domain, Toshimasu remained with them, serving as a retainer.

Keiji's armor can still be seen today at the Miyasaka Museum.


前田利益(1533年-1612年)(另有生於天文10年(1541年)一說),日本戰國時代中後期的名將,幼名宗兵衛,本名利益(利太),通稱慶次郎,瀧川一益之兄瀧川益氏之庶男(另有一益之子一說)。生於尾張海東郡荒子部的寒村,因前田家家督前田利久體弱無子,幼年過繼予利久當養子,為前田利家之侄子(其實利益的年齡比利家大了許多)


前田利益以其奇裝異行著稱,是傾奇者的代表性人物。

永祿十年(1567年),織田信長命令前田利久讓出家督之位給前田利家,並在命令書上寫道:「前田家中有異行者(利益),對繼家督來說是無所用,又左衛門(利家)常在我身邊為近習而仕織田家,而且立功無數,家督之位由又左衛門繼承,正符合正理!」而後,利久與利益四處流浪。

根據《米澤人國記》的記載,利益於(1567年-1582年)期間到了京都與關白一條兼冬及右大臣西園寺公朝的屋敷活動,學習文學、音樂,又聽學大納言三條公光講解源氏物語及伊勢物語、向名茶道家千利休學者茶道,更學懂亂舞、猿樂、笛吹、太鼓的舞技,且向連歌第一大師紹巴學習連歌、俳句和歌等藝文。利益於當時又同時向伊勢松阪城主寶藏院胤榮學習騎馬弓箭之術,自命文武相全、十八般武藝皆通。

天正十年(1582年),織田信長命喪本能寺,其後,羽柴秀吉打敗明智光秀,又於賤岳之戰打敗柴田勝家,掌握織田勢力,前田利家倒向秀吉,得到極大的信任。同時利久、利益回到能登,利家以七千石之地給予二人,利久分予利益其中五千石。同年,利益獲利家封為阿娓城城主。

天正十二年(1584年),佐佐成政攻打末森城,守將奧村永福以寡兵死守半年,利家命利益前往救援,利益到達後立即與成政激戰,並且成功擊敗成政。正當眾人期望成政之死時,向來我行我素的利益因敬重成政而放其離開,此舉使利家非常憤怒,幸於天正十三年(1585年)阿娓之戰利益立下戰功,因而獲利家賞賜。

天正十八年(1590年),利益隨利家出戰北條氏,戰後協助利家為陸奧地方的檢田使。


天正十九年(1591年),因与利家不和及养父利久已于几年去世之故,利益決定出走。利家得知後大為憤怒,並揚言必將其殺之!這時的利益再入京都,於各大名及貴族的屋敷間出入,同時在京都遇上了一生中的摯友直江兼續,兩人一見如故,不時往來。





About Socius

This is a short description in the author block about the author. You edit it by entering text in the "Biographical Info" field in the user admin panel.

0 Comments:

แสดงความคิดเห็น